โปรแกรม Flash Cs6: โปรแกรม Flash Css Templates

ปุ่มสร้างเลเยอร์ใหม่ 9. ปุ่มสร้างไกด์เลเยอร์ 10. ปุ่มสร้างโฟล์เดอร์เลเยอร์ 11. ปุ่มลบเลเยอร์ 12. ปุ่มเซ็นเตอร์เฟรม 13. ปุ่มโอเนียน สกิน 14. ปุ่มโอเนียน สกินแบบโครงร่าง 15. ปุ่มแก้ไขเฟรมหลายเฟรมพร้อมกัน 16. ปุ่มโอเนียนมาร์คเกอร์ 17. บอกตำแหน่งหมายเลขเฟรมในขณะ ทำงาน 18. บอกความเร็วการแสดงกี่เฟรมต่อวินาที 19. เวลาที่ใช้ในการมูฟวี่

โปรแกรม adobe flash cs6

swf เป็นไฟล์ที่สมบูรณ์, ถูก compiled แล้ว ไม่สามารถแก้ไขได้อีก สามารถเล่นได้ในเครื่องที่ติดตั้งโปรแกรม Flash Player ไฟล์. fla เป็นไฟล์ต้นฉบับของโปรแกรม Flash โปรแกรมที่ใช้เขียน Flash สามารถแก้ไขได้ และ compile ให้เป็นไฟล์. swf ได้ ไฟล์. exe เป็นไฟล์ที่ถูก compiled แล้ว เป็น Application ซึ่งได้รวมเอาโปรแกรมเสริม ( Flash Player) เข้าไว้ด้วยกันไม่สามารถแก้ไขได้ สามารถเล่นได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องที่ไม่ได้ติดตั้งโปรแกรมเสริม 2. การเปิดใช้งานโปรแกรม วิธีที่ 1 ดับเบิลคลิกรูปสัญลักษณ์ icon Desktop ดังภาพ วิธีที่ 2 คลิกปุ่ม Start > Programs > Macromedia > Macromedia Flash 8 โปรแกรมจะเริ่มทำงานแล้วเข้าสู่หน้าต่างต้อนรับดังภาพ 3.

ศ. 1996 หลังจากนั้น เทคโนโลยีแฟลชได้กลายมาเป็นที่นิยมในการเสนอ แอนิเมชัน และ อินเตอร์แอกทีฟ ในเว็บเพจ และในโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมระบบ และ เครื่องมือต่างๆ ที่มีความสามารถในการแสดง แฟลชได้ และ แฟลชยังเป็นที่นิยมในการใช้สร้าง แคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน โฆษณา ออกแบบส่วนต่างๆ ของเว็บเพจใส่วิดีโอบนเว็บ และอื่นๆ อีกมากมาย ไฟล์ Flashในบางครั้งอาจเรียกว่า "flash movies"โดยทั่วไปกับ ไฟล์ที่มีนามสกุล และ แฟลชเป็นโปรแกรมที่มีชื่อเสียงมากของทางบริษัทแมโครมีเดีย ซึ่งต่อมาได้ถูกซื้อโดยอะโดบี 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Flash โปรแกรม Flash คืออะไร?

แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6 – คอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่อการออกแบบ

เมื่อเปิดโปรแกรม Adobe Flash Professional CS6 แล้ว จะปรากฏหน้าจอดังภาพ ส่วนประกอบของโปรแกรม Adobe Flash Professional CS6 1. Menu Bar (เมนูบาร์) เป็นส่วนสำหรับแสดงรายการคำสั่งต่างๆ ของโปรแกรม 2. Stage (สเตจ) เป็นส่วนที่เรากำหนดขอบเขตขนาดของการทำงาน เป็นพื้นที่ส่วนที่ใช้ในการวางวัตถุต่างๆ หรืออาจจะเรียกว่า "เวที" เมื่อมีการนำเสนอผลงานจะแสดงเฉพาะวัตถุบน Stage นี้เท่านั้น 3. Properties (พร็อพเพอร์ตี้) เป็นส่วนกำหนดคุณสมบัติให้กับวัตถุต่างๆ ที่เราใช้งาน ทั้งการกำหนดค่าต่างๆ หรือการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแก้ไขวัตถุไหนก็นำเมาส์ไปคลิกที่วัตถุนั้นก่อน 4. Timeline (ไทม์ไลน์) มีไว้สำหรับควบคุมการทำงานและกำหนดการนำเสนอผลงาน ตลอดจนการเคลื่อนไหวต่างๆ 5. Toolbox (ทูลบ๊อกซ์) เป็นกลุ่มของเครื่องมือในการสร้างงานและจัดการวัตถุต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยปุ่มเครื่องมือย่อยต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างงาน ส่วนประกอบต่างๆ ที่ปรากฏบน Timeline กล่องเครื่องมือ ( Toolbox) Toolbox คือ กล่องที่ใช่สำหรับบรรจุเครื่องมือวาดภาพต่างๆ เช่น เครื่องมือสร้างรูปสี่เหลี่ยม เครื่องมือสร้างข้อความ เป็นต้น ซึ่งภายใน Toolbox จะถูกแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มคือ Tool, View, Colors และ Option กล่องเครื่องมือ (Toolbox) เป็นส่วนที่เก็บเครื่องมือต่างๆ เพื่อให้สามารถเรียกใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น แบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ เพื่อสะดวกในการเรียกใช้งาน ดังภาพ 1.

หน่วยที่ 2 การใช้งานเครื่องมือในโปรแกรม Adobe Flash CS6 – ครูนิธินันท์ วรรณา

ปุ่มสร้างเลเยอร์ใหม่ 9. ปุ่มสร้างไกด์เลเยอร์ 10. ปุ่มสร้างโฟล์เดอร์เลเยอร์ 11. ปุ่มลบเลเยอร์ 12. ปุ่มเซ็นเตอร์เฟรม 13. ปุ่มโอเนียน สกิน 14. ปุ่มโอเนียน สกินแบบโครงร่าง 15. ปุ่มแก้ไขเฟรมหลายเฟรมพร้อมกัน 16. ปุ่มโอเนียนมาร์คเกอร์ 17. บอกตำแหน่งหมายเลขเฟรมในขณะทำงาน 18. บอกความเร็วการแสดงกี่เฟรมต่อวินาที 19. เวลาที่ใช้ในการมูฟวี่ เมนูนำทาง เรื่อง

Like this: ถูกใจ กำลังโหลด...

โปรแกรม flash csa.fr

โปรแกรม flash css ist valide

โปรแกรม flash css templates

  • โปรแกรม flash cs6
  • หลักสูตรการออกแบบสีน้ำเงินเทมเพลต PPT สีน้ำเงิน | PowerPoint แบบ PPTX ดาวน์โหลดฟรี - Pikbest
  • โปรแกรมflash cs6

รายละเอียดกลุ่มเครื่องมือสำหรับเลือก 2. รายละเอียดกลุ่มเครื่องมือสำหรับวาดและตกแต่งภาพ 3. รายละเอียดกลุ่มเครื่องมือสำหรับปรับมุมมอง 4. รายละเอียดกลุ่มเครื่องมือสำหรับปรับสีเส้นและสีพื้นหลัง 5. ถาดเครื่อง (Palate Tool) อยู่ด้านขวามือของหน้าจอเช่น ถาดปรับแต่งสี ถาดเก็บทรัพยกรต่างๆ ถาดปรับแต่งสี (Color Mixer Palate) ใช้เลือกสีเส้นและสีพื้นหลังรวมถึงผสมสีแบบต่างๆ ถาดเก็บทรัพยากรต่างๆ (Library Palate) เช่น ซิมโบล เสียง ภาพ วิดีโอ เป็นต้น Timeline Frame และ Layer Timeline เป็นส่วนที่กำหนดความสั้นยาวของมูฟวี่ (Movie) Frame เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลซึ่งอาจเป็นคำสั่ง รูปภาพหรือข้อความที่แสดงให้ผู้ชมได้เห็น Layer เป็นส่วนที่เก็บข้อมูล แยกออกจากกันเป็นชั้นๆเหมือนแผ่นใสเพื่อง่ายต่อการจัดการและแก้ไข Stage เป็นพื้นที่แสดงมูฟวี่ (Movie) ที่อยู่ในเฟรม ( Frame) และ เลเยอร์ ( Layer) 1. ปุ่มแสดงหรือซ่อน Timeline 2. เลเยอร์ เฟรมจะต้องวางบนเลเยอร 3. ปุ่มซ่อนและแสดงข้อมูลบนเลเยอร์ 4. ปุ่มอนุญาตให้แก้ไขและป้องการแก้ไข ข้อมูลบนเลเยอร์ 5. เพลย์เฮดหัวอ่านเฟรมแต่ละช่อง 6. หมายเลขประจำเฟรม 7. เฟรม เปรียบเหมือนช่องเก็บเหตุการณ์ของมูฟวี่ 8.

โปรแกรมflash cs6

โปรแกรม flash css 3 โปรแกรม flash cs6 คือ
June 11, 2022, 10:14 pm