โวหาร ใน ภาษา ไทย

อุปลักษณ์ ( Metaphor) อุปลักษณ์ ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง มักจะมีคำ เป็น คือ มี ๓ ลักษณะ ๑. ใช้คำกริยา เป็น คือ = เปรียบเป็น เช่น โทสะ คือ ไฟ ๒. ใช้คำเปรียบเป็น เช่น ไฟโทสะ ดวงประทีปแห่งโลก ตก เหวรัก จะดิ้นรนไปจนตาย ๓. แสดงการเปรียบเทียบโดยปริยาย เช่น มโหรีจากราวป่ามาเรื่อยรี่ อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอาเอง ที่สำคัญอุปลักษณ์จะไม่มีคำเชื่อมเหมือนอุปมา ตัวอย่างเช่น ขอ เป็น เกือกทองรองบาทา ไปจนกว่าชีวันจะบรรลัย ทหาร เป็น รั้วของชาติ เธอ คือ ดอกฟ้าแต่ฉันนั้น คือ หมาวัด เธอ เป็น ดินหรือเธอ เป็น หญ้าแท้จริงมีค่ากว่าใครนิรันดร์ ชาวนา เป็น กระดูกสันหลังของชาติ ครู คือ แม่พิม์ของชาติ ชีวิต คือ การต่อสู้ ศัตรู คือ ยากำลัง 3.

โวหาร – ภาษาไทยใส่ไข่ใส่นม

โวหาร ใน ภาษา ไทย voathai.com

ลีลาวรรณคดีไทย (โวหารภาพพจน์) | ครูวราพร

  • สำนวนโวหารในภาษาไทย by Phimz Jsk
  • ลีลาวรรณคดีไทย (โวหารภาพพจน์) | ครูวราพร
  • เนย ขาว crisco ราคา slp
  • กา ชง กาแฟ สด ฟรี
  • 1 2 63 ตรวจ หวย x
  • แค่เพื่อนครับเพื่อน ep 10 jours
  • บริษัท เอสเทค อินโนเวชัน จำกัด (Aestech Innovation Co.,Ltd.) - ผู้นำเข้าและจัดจำหน่ายเครื่องมือแพทย์คุณภาพ พร้อมบริการที่ดีเยี่ยม
  • Leica m8 ขาย
  • คัมภีร์ ห ลุ น อ วี่ ทุกภาค
  • วิธีตรวจสอบ License หมดอายุ | ProsoftmyAccount
  • เท ร เซ เก้

พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่ใช้กล่าวถึงเรื่องราว สถานที่ บุคคล สิ่งของ หรืออารมณ์อย่างละเอียด สอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกลงไปเพื่อโน้มน้าวใจ ให้ผู้รับสารเกิดภาพพจน์ เกิดอารมณ์คล้อยตามไปด้วย ใช้ในการพูดโน้มน้าว อารมณ์ของผู้ฟัง หรือเขียนสดุดี ชมเมือง ชมความงามของบุคคล สถานที่และแสดงอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ เป็นต้น 4. อุปมาโวหาร หมายถึง โวหารเปรียบเทียบ โดยยกตัวอย่าง สิ่งที่คล้ายคลึงกันมาเปรียบเพื่อให้เกิดความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู้สึกมากยิ่งขึ้น โดยอาจเปรียบเทียบอย่างสั้น ๆ หรือเปรียบเทียบอย่างละเอียดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอุปมาโวหารนั้นจะนำไปเสริมโวหารประเภทใด 5. สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุ่งให้ความชัดเจนโดยการยกตัวอย่างหรือเรื่องราวประกอบการอธิบาย เนื้อหาสาระ เพื่อสนับสนุน ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ให้หนักแน่น สมเหตุสมผล ทำให้ผู้รับสารเข้าใจเนื้อหา สาระในสิ่งที่พูด หรือเขียนอย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจน ดูสมจริง หรือน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น ตัวอย่างหรือเรื่องราว ที่ยกขึ้นประกอบอาจเป็นเรื่องสั้น ๆ หรือเรื่องราวยาว ๆ ก็ได้ตามความเหมาะสม เช่น ประสบการณ์ตรงของผู้ส่งสาร เรื่องราวของบุคคล เหตุการณ์ นิทาน ตำนาน วรรณคดี เป็นต้น สาธกโวหารมักใช้เป็นอุทาหรณ ์ประกอบอยู่ในเทศนาโวหาร หรืออธิบายโวหาร 6.

โวหารในภาษาไทยมีกี่ชนิด
June 11, 2022, 10:38 pm