ข้อสอบ เครื่องหมาย วรรค ตอน

  1. ข้อสอบเครื่องหมายวรรคตอน ป.3
  2. ข้อสอบ เครื่องหมายวรรคตอน
  3. เครื่องหมายวรรคตอน | "รู้ค่าภาษาไทย ธำรงไว้คู่ไทยเอย"
  4. เครื่องหมายวรรคตอนน่ารู้ - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.5 | ใบงานเครื่องหมายวรรคตอนเนื้อหาที่เกี่ยวข้องล่าสุดทั้งหมด
  5. สรุปภาษาไทย เครื่องหมาย วรรคตอน
  6. Happiness: ทบทวนภาษาไทย ป.2 - เครื่องหมายวรรคตอน

*จุดจะมองยากหน่อยนะครับเพราะตัวมันเล็ก มกราคม ตัวย่อ คือ ม. ค. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ตัวย่อ คือ ท. ท. ท. 5. – มีชื่อเรียกว่า ยัติภังค์ (เราเรียกว่าเครื่องหมาย ลบ) มีหน้าที่ เป็นเครื่องหมายต่อคำ ใช้ในกรณีที่เราเขียนจบบรรทัดแล้วแต่คำอีกพยางค์ต้องขึ้นบรรทัดใหม่ เราก็จะใช้ เจ้า ยัติภังค์ ในการต่อเพื่อให้รู้ว่าคำ คำนั้นยังไม่จบ หรือ เราสามารถใช้กับตัวเลขก็ได้ มีความหมายว่า ถึง เช่น ผู้ที่สอบเข้า ม. 1 ได้ มีตั้งแต่ลำดับที่ 1 – 200 (หนึ่งถึงสองร้อย) 6. ฯลฯ มีชื่อเรียนกว่า ไปยาลใหญ่ (เราเรียกว่า เก้า ลอ เก้า) มีหน้าที่ บอกว่ายังมีคำ หรือ ข้อความต่อท้ายในลักษณะเดียวกันอีกหลายคำ หรือ หลายข้อความ โดยที่เราจะอ่าน ฯลฯ ว่าละ เช่น ในสวนสัตว์มีสัตว์มากมาย เช่น ช้าง ม้า กระทิง หมี ฯลฯ โดยเราจะอ่านว่า ในสวนสัตว์มีสัตว์มากมาย เช่น ช้าง ม้า กระทิง หมี ละ 7. ฯ มีชื่อเรียกว่า ไปยาลน้อย มีหน้าที่ ใช้ย่อข้อความที่เรารู้จักดีว่าชื่อเต็มคืออะไรทำให้เขียนสั้นลง แต่เวลาอ่านจะต้องอ่านเต็มข้อความ เช่น กรุงเทพ ฯ ย่อมาจาก กรุงเทพมหานคร อ่านว่า กรุง-เทบ-มะ-หา-นะ-คอน โปรดเกล้า ฯ ย่อมาจาก โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม อ่านว่า โปรด-เกล้า-โปรด-กระ-หม่อม 8.

ข้อสอบเครื่องหมายวรรคตอน ป.3

Home » หลักภาษาไทย » สรุปภาษาไทย เครื่องหมาย วรรคตอน วันนี้เรามาดูเนื้อหาเรื่องเครื่องหมายวรรคตอน ในภาษาไทย ซึ่งจริงๆแล้วก็คือเครื่องหมายต่างๆ ที่อยู่ในภาษาไทยครับน้องๆ พี่เพชรเข้าใจว่าหลายคน เคยเจอมาแล้ว จากการอ่านหนังสือต่างๆแต่ประเด่นที่เรามาศึกษาวันนี้คือ เราจะต้องมาดูว่าแต่ละตัวมีชื่ออะไรบ้าง และ มันทำอะไรได้บ้างครับ หน้าที่ของเครื่องหมายวรรคตอน 1. " ——– " มีชื่อเรียกว่า อัญประกาศ (ฟันหนู) มีหน้าที่ คือใช้คั่นข้อความที่เป็นคำพูด ของผู้อื่น หรือ ยกมาจากที่อื่น เช่น วันนี้พี่สาวถามฉันว่า " น้องกินข้าวรึยัง? " 2. _____ มีชื่อเรียกว่า สัญประกาศ (ขีดเส้นใต้) มีหน้าที่ ให้ขีดเส้นใต้คำ หรือข้อความที่เราจำเป็นต้องเน้นความสำคัญ เพื่อให้ผู้อ่านสังเกต และเห็นชัดเจน เช่น ถ้าคนไทยทุกคน รักกันมากกว่า ประเทศชาติคงจะสงบสุข 3. ( ………) มีชื่อเรียกว่า นขลิขิต ( เราชอบเรียกว่าวงเล็บ) มีหน้าที่ ใช้คั่นข้อความที่ต้องการให้อ่น ซึ่งต้องการอธิบาย หรือขยายความหมายของข้อความนั้น สังเกตจากข้างบนพี่เพชรก็มีการขยายความว่า "เราชอบเรียกว่าวงเล็บ" 4.. มีชื่อเรียกว่า มหัพภาค (เราเรียกว่าจุด) มีหน้าที่ ใช้จบข้อความในประโยค หรือ กำกับตัวอักษรย่อ เช่น ซอย ตัวย่อ คือ ซ.

เครื่องหมายวรรคตอนเป็นสัญลักษณ์ที่จะช่วยให้สื่อความหมายได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เครื่องหมายที่สำคัญๆ คือ ๑. มหัพภาค. เป็นเครื่องหมายรูปจุด มีวิธีใช้ดังนี้ – ใช้เขียนหลังตัวอักษรเพื่อแสดงว่าเป็นคำย่อ เช่น พุทธศักราช = พ. ศ. – ใช้เขียนตำแหน่งแสดงจุดทศนิยม เช่น ๐๙. ๓๐ น. – ใช้เขียนหลังตัวเลจกำกับข้อย่อย เช่น 1. 2. 3. ๒. จุลภาค, มีวิธีใช้ ดังนี้ – ใช้เขียนคั่นคำเพื่อแยกข้อความออกจากกัน เช่น ผลไม้หลากชนิด เช่น มะม่วง, มังคุด, ละมุด, ลำไย – ใช้คั่นตัวเลข เช่น ๑, ๒๐๐ บาท ๓. ปรัศนี? คือ เครื่องหมายคำถาม ใช้เขียนหลังประโยคคำถาม เช่น เธอจะไปไหน? ๔. นขลิขิต () คือ เครื่องหมายวงเล็บ ใช้เขียนคร่อมข้อความเพื่ออธิบายคำที่อยู่ข้างหน้า เช่น พระเนตร (ตา) ๕. อัศเจรีย์! คือ เครื่องหมายตกใจ มีวิธิใช้ดังนี้ – ใช้หลังคำอุทาน เช่น โอ๊ย! – ใช้เขียนหลังคำเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น ปัง! ๖. อัญประกาศ " " เครื่องหมายคำพูด วิธีการใช้ คือ – ใช้คร่อมข้อความที่ต้องการเน้น เช่น แม่บอกว่า " ลูกต้องเป็นเด็กดี " – เพื่อเน้นข้อความให้เด่นชัดขึ้น ๗. บุพสัญญา " เป็นเครื่องหมาย ละ มีวิธีการใช้ดังนี้ – ใช้แทนคำหรือข้อความบรรทัดบน เพื่อไม่ต้องเขียนซ้ำอีก เช่น มะม่วง กิโลกรัมละ ๒๐ บาท มังคุด " ๒๕ บาท ทุเรียน " ๖๐ บาท ๘.

  • Happiness: ทบทวนภาษาไทย ป.2 - เครื่องหมายวรรคตอน
  • Kef q500 ราคา
  • Dior Earrings ของแท้ ถูกที่สุด พร้อมโปรโมชั่น - เม.ย. 2022 | BigGo เช็คราคาง่ายๆ
  • คน ใน องค์กร
  • ข้อสอบเครื่องหมายวรรคตอน doc
  • เครื่องหมายวรรคตอนน่ารู้ - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.5 | ใบงานเครื่องหมายวรรคตอนเนื้อหาที่เกี่ยวข้องล่าสุดทั้งหมด
  • Momoko bag spa ราคา
  • รถจักรยาน 3 ล้อ มือ สอง เจ้าของขายเอง
  • ไซ น ไล น 2
  • Free Download&Read PDF E-Book: แบบเรียนภาษาไทย เครื่องหมายวรรคตอน
  • แนวข้อสอบภาษาไทย ป.4 เรื่องการใช้เครื่องหมายวรรคตอน ชุดที่ 1
June 11, 2022, 9:30 pm